ค้นหาบล็อกนี้

วันพฤหัสบดีที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2553

การเขียน PLC Fx2NC เชื่อมต่อกับ FX2NC-4AD

                 เป็นการเชื่อมต่อระหว่าง PLC กับชุดแปลงสัญญาณ Analog เป็นสัญญาณ digital ซึ่งสัญญาณ Analog คื่อจะเป็นสัญญาณที่มีความต่อเนื่องเช่น กระแสไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า อุณหภูมิ เป็นต้น ส่วนสัญญาณ Digital จะเป็นสัญญาณที่ไม่ต่อเนื่องตัวอย่างเช่น สัญญาณของ PWM เป็นต้น
                 เรามาทำความรู้จักกับ Fx2N-4AD กันก่อนซึง Fx2N-4AD เป็นตัวแปลงสัญญาณ analog เป็นสัญญาณ digital ขนาด 12 bit Fx2N-4AD จะต้องต่อกับ PLC Mitsubishi model FX2NC-xxMT เท่านั้น xx หมายถึงจำนวน input กับ output ในตัวอย่างนี้ใช้ Fx2N-96MT หมายความว่าจำนวน input บวก output เท่ากับ 96 หน่วย ส่วน MT หมายถึง input output  เป็นแบบ transistor โดยลักษณะการแปลงสัญญาณจะมีให้เลือก 2 โหมดคือ สัญญาณแรงดันไฟฟ้า กับ สัญญาณกระแสไฟฟ้าในการทดลองนี้จะเป็นการทดลองแบบง่ายโดยการแปลงสัญญาณแรงดันไฟฟ้าเป็นสัญญาณ digital


การทดลองนี้จะใช้ในรูปแรกจะเห็นได้ว่าจะใช้ระดับแรงดันที่ -10V ถึง 10V เป็นการแปลง 12 bit หรือ 2 ยกกำลัง 12 เท่ากับ 4096 แล้วหารด้วย 2 เพราะว่าเราอ้างอิงแรงดันทั้งด้านบวกและด้านลบ คือ -2048 ถึง 2047 การทดลองนี้ได้ต่อวงจรตามรูปข้างล่าง




 รูปวงจรในการต่อทดลอง
เราจะมาศึกษาคำสั้งในการเชื่อมต่อ จะมีคำสั้งที่เขียนเพื่อ set ค่าใน Fx2N-4AD จะใช้คำสั้ง TO
ตัวอย่างการเขียนคื่อ --[TO K0 K0  H1600 K1] จะอธิบายไล่จากซ้ายไปขวา TO เป็นคำสั้งการเขียนไป
ยัง Hardware ภายนอก K0 คือของ spacial function block ที่ทำการเชื่อมต่อ K0 เป็นการต่อช่องที่ 1
ถัดมาจะเป็น K0 จะเป็น Buffer memory ของ spacial function block ที่ทำการเชื่อมต่อ เช่น K0 
ใน Fx2N-4AD จะเป็น buffer memory ที่ใช้ในการเลือกใช้ช่องที่ทำการต่อ CH ในการใช้งานใน Fx2N-4AD จะมีทั้งหมด 4 Ch ต่อมา H1600 จะเป็นการ Set ให้ Fx2N-4AD นี้ทำการอ่าน Ch1 - Ch4  ต่อมาจะเป็น K1 จะเป็นจำนวน word ในการเขียน 1 word เท่ากับ 16 bit นั้นเอง
                  คำสั้ง FROM เป็นคำสั้งในการอ่านจาก  spacial function block (Fx2N-4AD) คำสั้งนี้จะคล้ายคลึงกับคำสั้ง  TO
                  ต่อไปจะเป็นการเขียนโปรแกรมใน PLC โดยใช้ Software  GX deverloper


วันอังคารที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2553

การเขียน PLC MITSUBISHI เบื่องต้น

การเขียน PLC MITSUBISHI เบื่องต้น

เปิดโปรแกรม GX deverloper ขึ้นมาดังรูปด้านล่าง คลิกเลือก Project แล้วคลิก New Project



<><>
<>
<><>
<>
เลือกรุ่น PLC ที่ต้องการใช้งาน
<><><> 
<><><>
เมือเลือกเสร็จเรียบร้อยจะได้หน้า Project  ดังรูป
การใช้ Input ของ PLC
       ใน PLC Mitsubishi นี้จะใช้ INPUT X ซึ้งจะขึ้นกับชนิดของรุ่นของ PLC เช่นถ้ารุ่น FX จะเป็น CPU ขนาด 8 bit จะนับ x0 ไปจนถึง x7 จะเริ่มที่ x20 ไปถึง x27 เป็นต้นหรือดูที่ตัวเครื่อง PLC
  ก็ได้จะไม่มี x8 หรือ x28 คือจะเลขฐาน 8 นั้นเอง ถ้าเป็นPLC รุ่น A หรือรุ่นใหม่อย่าง Q จะใช้ CPU 16 bitจะนับ Input เป็นเลขฐาน 16 ตัวอย่างเช่น X0 ไปถึง X0F  input ต่อไปคือ X10 ไล่ไปถึง X1F แล้วก็ X20 เป็นต้น 



การใช้งาน Output ของ PLC 

Output ที่ต่อใช้งานกับอุปกรณ์ภายในนอกจะใช้สัญลักณ์ Y ซึ่งการใช้งานต้องดูรุ่นของPLC
เช่น Y0 --> Y7 ต่อไปจะเป็น Y10 เป็นต้นในรุ่นของ Fx ซึ่ง CPU 8 bit
การใช้งาน Lelay ช่วย
รีเลย์ช่วยจะใช้สัญลักณ์ M การใช้งานจะนับเป็นเลขฐาน สิบ เป็นหลักและจะมีรีเลย์ช่วยพิเศษสามารถดูได้จากตารางข้างล่าง
<><>
<>
<><>
<>
การเขียนโปรแกรมเบื่องต้นโดยเริมการเขียนแบบง่ายเป็นการควบคุมมอเตอร์ Start แบบStar 
Run แบบ Delta ตามรูปด้านล่าง
<><>
<>
<><>
<>
ลักษณะการต่อเข้ากับอุปกรณ์ภายนอกจะอธิบายละเอียดในหัวข้อต่อไปนะครับ
ลักษณะการเขียนโปรแกรม PLC แบบง่ายๆ